ณ. สำนักงานเทศบาลเมือง ตะกั่วป่า วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๐๒
พระ
คราว ร.ศ.109 จดหมายเหตุ เสด็จประพาสในรัชกาลที่ 5 (เรื่องราวเมืองตะกั่วป่า อยู่ ที่เริ่มที่ หน้า ๑๕)
http://www.car.chula.ac.th/rarebook/book/cl53_0153/#/8/
พระราชกรณียกิจด้านแร่ รัชกาลที่ 5
รัชกาลที่ ๕ เสด็จ เมือง ตะกั่วป่า วันที่ ๒๘ เมษายน รศ.๑๐๙
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสต้นแหลมมลายูเมื่อ
รศ.109 (พ.ศ.2433)
ในการนี้พระองค์ได้ทอดพระเนตรเหมืองแร่บริเวณภาคใต้ของประเทศ
โดยในวันที่ 26 เมษายน รศ.109 พระองค์ได้เสร็จทอดพระเนตรการทำเหมืองที่จังหวัดระนอง
28 เมษายน รศ.109 เสด็จลงเรือทอดพระเนตรโรงถลุงแร่ที่ตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
และวันที่ 1 พฤษภาคม รศ.109 ได้ทรงทอดพระเนตรการทำเหมืองแร่บริเวณตะพานหิน จังหวัดภูเก็ต
ในการนี้พระองค์ได้ทอดพระเนตรเหมืองแร่บริเวณภาคใต้ของประเทศ
โดยในวันที่ 26 เมษายน รศ.109 พระองค์ได้เสร็จทอดพระเนตรการทำเหมืองที่จังหวัดระนอง
28 เมษายน รศ.109 เสด็จลงเรือทอดพระเนตรโรงถลุงแร่ที่ตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
และวันที่ 1 พฤษภาคม รศ.109 ได้ทรงทอดพระเนตรการทำเหมืองแร่บริเวณตะพานหิน จังหวัดภูเก็ต
ทรงให้ความสำคัญกับกิจการด้านอุตสาหกรรมเหมืองแร่เป็นอย่างมาก
โดยพระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งกรมราชโลหกิจและภูมิวิทยาขึ้นใน ปี ร.ศ.110 หรือ ปี พ.ศ.2434 ให้มีหน้าที่ในการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของประเทศ
ทั้งด้านการอนุญาตประทานบัตร ควบคุมการทำเหมือง และจัดเก็บค่าภาคหลวงแร่
กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยาได้เปลี่ยนชื่อเป็นกรมโลหกิจ
กรมทรัพยากรธรณีและกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ในปัจจุบัน
และในปี ร.ศ.120 หรือ ปี พ.ศ.2444 พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติแร่ ร.ศ.120 ขึ้นเป็นฉบับแรก เพื่อเป็นข้อกำหนดในการดำเนินการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมแร่ของประเทศสืบมา
(ข้อมูลจาก :http://lc.dpim.go.th/ ศูนย์การเรียนรู้อุตสาหกรรมเหมืองแร่ )
โดยพระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งกรมราชโลหกิจและภูมิวิทยาขึ้นใน ปี ร.ศ.110 หรือ ปี พ.ศ.2434 ให้มีหน้าที่ในการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของประเทศ
ทั้งด้านการอนุญาตประทานบัตร ควบคุมการทำเหมือง และจัดเก็บค่าภาคหลวงแร่
กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยาได้เปลี่ยนชื่อเป็นกรมโลหกิจ
กรมทรัพยากรธรณีและกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ในปัจจุบัน
และในปี ร.ศ.120 หรือ ปี พ.ศ.2444 พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติแร่ ร.ศ.120 ขึ้นเป็นฉบับแรก เพื่อเป็นข้อกำหนดในการดำเนินการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมแร่ของประเทศสืบมา
(ข้อมูลจาก :http://lc.dpim.go.th/ ศูนย์การเรียนรู้อุตสาหกรรมเหมืองแร่ )
(ข้อมูลอ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/อำเภอตะกั่วป่า)
ค่ำคืนหนึ่งที่บ้านเรา ตะกั่วป่า..
One Night In Takuapa Old Town #takuapa
งานเปิดเมืองตะกั่วป่า วันทาพระศรีบรมธาตุ รำลึกประพาสเมืองใต้ ๓-๔ มีนาคม ๒๕๕๘
ณ. ถนนอุดมธารา (จับเซ้) เขาพระบาท พระธาตุคีรีเขต อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
งานเปิดเมืองตะโกลา ตะกั่วป่า ๒๕๕๘
ร่วมถ่ายภาพที่ระลึกเปิดเมืองตะโกลา ๒๕๕๘-๐๑
ร่วมถ่ายภาพที่ระลึกเปิดเมืองตะโกลา ๒๕๕๘-๐๓
ณ. ถนนอุดมธารา (จับเซ้) เขาพระบาท พระธาตุคีรีเขต อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
งานเปิดเมืองตะโกลา ตะกั่วป่า ๒๕๕๘
ร่วมถ่ายภาพที่ระลึกเปิดเมืองตะโกลา ๒๕๕๘-๐๑
ร่วมถ่ายภาพที่ระลึกเปิดเมืองตะโกลา ๒๕๕๘-๐๒
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น